เสียงสะท้อนจากทะเลสาบสงขลา ตอน คำสัญญาจากใจ โดยจำนง ถีราวุฒิ
- Details
- Hits: 2578
อีกครั้งกับเสียงสะท้อนจากทะเลสาบสงขลา มาถึงอีกตอนหนึ่งครับ สำหรับท่านที่ติดตามบทความเรื่องนี้มาโดยตลอดอย่าท้อ อย่าเหนื่อย อย่าเบื่อน่ะครับ ผมเชื่อว่าหลายท่านยังคงเป็นกำลังใจ ยังคงร่วมอุดมการณ์ไปกับผม ในการที่จะร่วมด้วยช่วยกัน ให้ทะเลสาบสงขลาที่ได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยแห่งนี้เป็นทะเลสาบที่อุดมไปด้วยสัตว์น้ำนานาพันธุ์และขอขอบคุณสำหรับกำลังใจ ที่หลายท่านโทรมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น บ้างก็ให้กำลังใจ ขอบคุณจริง ๆ ครับ ขอนำสิ่งดี ๆ เหล่านี้เป็นกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคต่าง ๆ ในการพัฒนาทะเลสาบสงขลาต่อๆ ไปครับ
หางนกยูง..จิ๋วแต่แจ๋ว เรียบเรียงโดย ตุลฮาบ หวังสุข
- Details
- Hits: 2468
เมื่อพูดถึงปลาสวยงามนั้นย่อมมีหลากหลายชนิด แต่ละชนิดมีสีสันสวยงามแตกต่างกันไป มีวางขายตามตลาดทั่วไป โดยเฉพาะปลาชนิดนี้ครับ ปลาหางนกยูง ถึงแม้ว่าปลาหางนกยูงในอดีตนั้นเป็นแค่ปลาสวยงามธรรมดาที่ผู้คนส่วนใหญ่มักจะนำปลาชนิดนี้มาเลี้ยงเพื่อหวังให้กินลูกน้ำป้องกันยูงเท่านั้นเอง มากกว่าเลี้ยงเพื่อความสวยงาม แต่อดีตกับปัจจุบันแตกต่างกันสิ้นเชิงเมื่อปลาชนิดนี้ได้ถูกปรับปรุงสายพันธุ์ทำให้มีความหลากหลายสายพันธุ์มากขึ้น จึงไม่แปลกอะไรที่ปลาชนิดนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เรามาทำความรู้จักกับปลาหางนกยูงกันครับ โดยเฉพาะสายพันธุ์ต่าง ๆ
สุดมหัศจรรย์...หญ้าแฝกไทย โดยขวัญเรือน สุวรรณรัตน์
- Details
- Hits: 3681
หญ้าแฝกจัดเป็นพืชตระกูลหญ้าเขตร้อนที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติ กระจัดกระจายทั่วไปในสภาพแวดล้อมต่างๆ เป็นพืชที่มีคุณสมบัติที่มีสมบัติที่เหมาะสมที่สุดต่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ เพราะว่าหญ้าแฝกเจริญเติบโตขึ้นเป็นกอใหญ่และยังมีรากที่ยาวเจริญได้ดีทั้งในสภาพดินที่ชื้นแฉะ และที่แห้งแล้งจัด ยังอยู่ได้ทั้งในดินที่มีสภาพดินเป็นกรดหรือสภาพดินเป็นเบส
กุ้งฝอย เลี้ยงง่าย โตง่าย กำไรงาม โดยฉวีวรรณ หนูนุ่น
- Details
- Hits: 5663
กุ้งฝอยเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำได้เป็นอย่างดี เพราะว่ากุ้งฝอยเป็นสัตว์น้ำที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก แหล่งน้ำไหนมีความสะอาดและอุดมสมบูรณ์เราจะพบกุ้งฝอยได้มาก แต่ถ้าแหล่งน้ำไหนไม่สะอาดก็จะไม่พบเจอกุ้งฝอยซักตัวเดียว ในปัจจุบันธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปมากแม่น้ำลำคลอง แหล่งน้ำต่าง ๆไม่ค่อยสะอาดเราเลยไม่ค่อยพบเจอกุ้งฝอยในธรรมชาติมากเท่าไร
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของประชากรพ่อแม่พันธุ์ปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus)
- Details
- Hits: 3130
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของประชากรพ่อแม่พันธุ์ปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus)
ศรีจรรยา เข็มกลัด1* และ วิศณุพร รัตนตรัยวงศ์2
1สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ 2ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม่
สภาวะสัตว์น้ำรอบทะเลสาบสงขลา เดือนพฤศจิกายน 2559
- Details
- Hits: 2350
ช่วงนี้กล่าวได้ว่าชีวิตของพี่น้องชาวประมงกำลังสดใสเหมือนฟ้าหลังฝน หลังจากที่ต้องประสบพบเจอกับสารพันปัญหาไม่ว่าจะน้ำแล้ง ฝนตกชุก หรือกระแสลมที่พัดแรง ซึ่งก็ทำเอาพี่น้องประมงเราเกือบไปต่อไม่ไหว ไปไหนไม่ถูกกันเลยทีเดียว แต่ด้วยความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง จึงทำให้อยู่มาได้จนถึงวันที่ฟ้าสีทองผ่องอำไพ ขอแสดงความชื่นชมยินดี!
ความแตกต่างระหว่างประชากรปลาหมอจากแหล่งธรรมชาติ
- Details
- Hits: 3089
ความแตกต่างระหว่างประชากรปลาหมอจากแหล่งธรรมชาติและฟาร์มเพาะเลี้ยงใในประเทศไทย โดยข้อมูลพันธุกรรมและลักษณะปรากฏภายนอก
พนม กระจ่างพจน์ สอดศุข* พลชาติ ผิวเณร สุจิตรา เพชรคง สุชาติ จุลอดุง อนงค์ นิ่มละมัย และ จริญญา สุวรรณนาคะ
สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ
ประวัติการเพาะพันธุ์กุ้งก้ามกรามสำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศไทย
- Details
- Hits: 3910
สวัสดีช่วงบ่ายๆ...ครับ หลายท่านคงรู้จักกุ้งก้ามกรามกันดีแล้ว...แม้ปัจจุบันกุ้งก้ามแดงจะมาแรงก็ตาม...แต่ก็เป็นกุ้งต่างถิ่น ต่างที่...สำหรับกุ้งก้ามกรามเป็นกุ้งพื้นถิ่นบ้านเรา โดยเฉพาะในทะเลสาบสงขลา...แต่แรกอุดมสมบูรณ์มากๆ ขนกัน จับกันได้เป็นลำเรือ...ต่างจากเดี๋ยวนี้ที่จับได้น้อยลง...แต่ดีที่ยังมีโครงการฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลาเข้ามาช่วยฟื้นฟูทรัพยากรกุ้งก้ามกรามให้ยังคงอยู่คู่ทะเลสาบสงขลา...หลายท่านคงอยากทราบว่าประวัติความเป็นมาของการเพาะพันธุ์กุ้งก้ามกรามเป็นอย่างไร...วันนี้ขอนำเสนอในรูปของโปสเตอร์ครับ...ลองติดตามรายละเอียดดังลิ้งครับ...
สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จ.สงขลา พัฒนาพันธุ์กุ้งก้ามกรามตามพระราชดำริ ส่งเสริมอาชีพเกษตร
- Details
- Hits: 3759
สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จ.สงขลา สามารถเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์กุ้งก้ามกรามได้เป็นผลสำเร็จขึ้นเป็นที่แรก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระทัยและให้ขยายพันธุ์เพิ่มเติม เพื่อให้เพียงพอต่อประชาชนนำไปเพาะเลี้ยงประกอบอาชีพ ซึ่งทางสถาบันได้น้อมนำพระราชดำริ มาปฏิบัติจนถึงปัจจุบัน เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร